ไมโครคอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบหลัก
ๆ ดังนี้
1. เคส (Case) คือ ส่วนที่บรรจุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เช่น แผงวงจนหลัก ฮาร์ดิสก์ หน่วยความจำ หน่วประ มวลผล
เคสมีทั้งแบบแนวนอนและแนวตั้งภายในเคส( case) ประกอบด้วย
- 2 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) คือ
พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลหลักของคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลและโปรแกรม
ภายในจะมีข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ บรรจุอยู่ฮาร์ดดิสก์ตัวแรกจะถูกกำหนดเป็น
"ไดร์ฟ C" เสมอ
- 3 แรม (RAM)แรม (RAM) หน่วยความจำ
หรือ แรม (RAM : Read Access Memory) เป็นพื้นที่ที่ใช้ในการประมวลผล
ข้อมูลชั่วคราว เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่มีการประมวลผลจะหายไปทันที
4 เมาส์ (Mouse) เมาส์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ชี้ส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ
และเรียกโปรแกรมโดยการใช้เมาส์คลิกที่สัญรูปหรือไอคอน (Icon) ที่เป็นตัวแทนของโปรแกรมที่ต้องการ
4 . 5 จอภาพ (Monitor) จอภาพ หรือมอนิเตอร์ ทำหน้าที่แสดงอักษร
ข้อความและรูปภาพที่สร้างจากการ์ดแสดงผล ขนาดของจอภาพ วัดจาก
ความยาวเส้นทแยงมุมของจอภาพ ขนาดมาตราฐานของจอภาพขั้นต่ำในปัจจุบันคือ 17 นิ้ว สำหรับหน่วยที่ใช้วัด
เรียกว่า ดอตพิตช์ (Dot Pitch) ยิ่งมีขนาดเล็กจะมีความคมชัดสูง
สำหรับขนาดดอตพิตช์ มาตราฐานไม่ควรมากกว่า 0.28 มิลลิเมตร
ปัจจุบันมีจอภาพที่กำลัง เป็นที่สนใจมากคือ จอแบน (LCD) ซึ่งกินพื้นที่ในการติดตั้งน้อยมาก
แต่ราคาปัจจุบันค่อนข้างถูกลงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพ CRT
6 การ์ดจอ ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลเป็นสัญญาณเท่านั้น แต่จากกระแสของการ์ดเร่งความเร็วสามมิติ ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษที่ 90 โดยบริษัท 3dfx และ nVidia ทำให้เทคโนโลยีด้านสามมิติพัฒนาไปมาก
ปัจจุบันการ์ดแสดงผลสมัยใหม่ได้รวมความสามารถในการแสดงผลภาพสามมิติมาไว้เป็นมาตรฐาน
และได้เรียกชื่อใหม่ว่า GPU (Graphic Processing Unit) โดยสามารถลดงานด้านการแสดงผลของของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ได้มาก
7 แป้นพิมพ์ (Keyboard) แป้นพิมพ์
หรือ คีย์บอร์ด เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
8 เมนบอร์ดศุนย์กลางของการเชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
มีชิปเซตที่ำทำหน้าที่รับ/ส่งข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆ อีกขั้นหนึ่ง เมนบร์ด (Mainboard)นิยมใช้มาตรฐานการออกแบบ
9 พาวเวอร์ซัพพลาย หน้าที่ของ Power
Supply ไม่ใช้แค่เป็นตัวจ่ายไฟอย่างเดียว
จริงๆแล้วหน้าที่หลังของ Power Supply คือตัวแปลงไฟล์ฟ้าจากระบบไฟฟ้าบ้านที่มีแรงไฟฟ้าที่เยอะเกินความต้องการของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์
เช่น ไฟฟ้าบ้านในไทยมีไฟฟ้าอยู่ที่ 220 โวลต์ แต่อุปกรณ์บางชนิดต้องการแค่ 3.3 โวลต์ 5 โวลต์ และ 12 โวลต์
ตามลำดับ หรือจะพูดง่ายๆคือ Power
Supply เป็นตัวแปลงไฟฟ้าให้เหมาะสมกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้นเอง
เป็นอุ 10 CD-DVD drive ทำหน้าที่อ่าน ข้อมูล
จากแผ่นซีดีรอม และทำการแปลงสัญญาณข้อมูล
แล้วส่งไปยังหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์
และใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ในการอ่านเขียนข้อมูล
|
การทำ
|
11 cpu ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์และข้อมูลเชิงตรรกะเท่านั้น
แต่ทำไมการคำนวณขนาดนี้ ต้องมีการพัฒนาซีพียูกันไม่หยุดหย่อน ย้อนกลับไปปี 1946 คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีชื่อที่พอจะจำได้ก็คือ ENIVAC นั้นทำงานโดยใช้หลอดไดโอด ซึ่งสถานะการทำงานของหลอดพวกนี้
มีสองอย่าง คือ 1 กับ 0 จะมีค่าเป็น 1 เมื่อมีกระแสไหลผ่านและเป็น 0 เมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน
นั่นจึงเป็นเหตุผลให้คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐาน 2 ในการคำนวณ ครั้นต่อมาวิทยาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ
จากหลอดไดโอดก็พัฒนาเป็นทรานซิสเตอร์ และจากทรานซิสเตอร์ก็พัฒนาเป็นวงจรขนาดเล็ก
ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ IC และในที่สุดก็พัฒนาเป็น Chip อย่างที่เรารู้จักกันมาจนปัจจุบันนี้