วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558




 




ข้อ
1.อินเทอร์เน็ต หมายถึงข้อใด
สอบ O-net

ก.
ชื่อเรียกกลุ่มของคอมพิวเตอร์
ข.
การส่งสัญญาณเพื่อสื่อสารกัน
ค.
การค้นคว้าหาข้อมูล
ง.
การนำเครือข่ายหลายเครือข่ายมาเชื่อโยงกันทั่วโลก


2.การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันต้องใช้อุปกรณ์ในข้อใด
ก.
ดาวเทียม
ข.
วิทยุ
ค.
โทรทัศน์
ง.
โทรศัพท์

3.การเข้าไปดูข้อมูลต่างๆ ในเว็บไซต์ จะต้องใช้โปรแกรมใด
ก.
เวิร์ด
ข.
บราวเซอร์
ค.
ลีนุกซ์
ง.
เอ็กเซล

4.chalee@yahoo.com  หมายถึงข้อใด
ก.
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ข.
สถาบันธุรกิจ
ค.
ชื่อผู้ส่งหรือผู้รับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ง.
ที่, ที่อยู่
5.การคเนหาข้อมูลต่างๆต้องหาจากเว็ปใด

     ก. www.goole.com
   
     ข.  www.facebook.com
 
     ค.  www. gmail.com

     ง.   www. youtube



เฉลย
1.ง
2.ก
3.ข
4. ง
5. ก

วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส



โลนลี่ แพลนเน็ตระบุว่า ปัจจุบันเมืองสวยที่สุดในโลกอย่าง กรุงปารีส ได้ถูกแปลงโฉมใหม่ให้สวยงามยิ่งขึ้น หลังทางการเดินหน้าลดความแออัดของรถยนต์ ด้วยการรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้บริการระบบขนส่งมวลชน และรถจักรยาน ทั้งยังเปลี่ยนถนนเลียบแม่น้ำแซนฝั่งขวาระยะทาง 1.5 กิโลเมตร ให้เป็นทางเดิน และเลนรถจักรยาน ส่วนถนนเลียบแม่น้ำฝั่งซ้าย นับตั้งแต่สะพานอัลม่าไปจนถึงพิพิธภัณฑ์ออร์แซ (ระยะทาง 2.5  กิโลเมตร) ถูกกำหนดให้เป็นเขตปลอดรถยนต์ พร้อมทั้งเปลี่ยนถนนให้กลายเป็นทางเดิน และพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นสวนลอยน้ำ สนามกีฬา มุมพักผ่อนหย่อนใจ ฯลฯ


นอกจากนี้ พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ ยังเปิดแกลลอรี่ศิลปะอิสลามใหม่ ซึ่งอยู่ภายใต้หลังคารูปพรมวิเศษสีทอง แถมระฆังที่มหาวิหารนอตเตอร์ดัมยังกลับมาดังอีกครั้ง ด้วยท่วงทำนองเดิมๆ เหมือนที่เคยดังก่อนปี 1789  (พ.ศ. 2332) หลังได้รับการติดตั้งระฆังใหม่ 9 ลูก เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ที่สำคัญพิพิธภัณฑ์ปิกัสโซ่ จะเปิดให้บริการใหม่อีกครั้ง ในปีหน้าหลังปิดปรับปรุงมานานหลายปี

วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558

คำถามเกี่ยวกับซอฟต์แวร์

                                                

1. ซอฟต์แวร์ คือ
ก. โปรแกรมชุดของคำสั่งที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
ข. อุปกรณ์เทคโนโลยีระดับสูง
ค. โปรแกรมแก้ปัญหาทุกอย่างของมนุษย์
ง. อุปกรณ์ที่ทำหน้าเสมือนสมองกล
2. ข้อใดไม่ใช่ระบบปฏิบัติการ
ก. ระบบปฏิบัติการดอส
ข. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์เวิร์ด
ค. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
ง. ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์
3. ชนิดของซอฟต์แวร์ (software) มีทั้งหมดกี่ชนิด
ก. มี 1 ชนิด 1.ซอฟต์แวร์ระบบ
ข. มี 2 ชนิด 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ค. มี 3 ชนิด 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ 3.ซอฟต์แวร์บุคคล
ง. มี 4 ชนิด 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 3.ซอฟต์แวร์บุคคล 4. ซอฟต์แวร์ บริหาร
4. ซอฟต์แวร์ประมวลคำ คือข้อใด
ก. word processing software
ข. spreadsheet software
ค. database management software
ง. presentation software

5. ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ก. word processing software
ข. spreadsheet software
ค. database management software
ง. presentation software

 
                       เฉลย
1. ก. โปรแกรมชุดของคำสั่งที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2. ข. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์เวิร์ด
3. ข. มี 2 ชนิด 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
4. ก. word processing software
5. ข. spreadsheet software

วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ไมโครคอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบหลัก ๆ ดังนี้





1.   คส (Case) คือ  ส่วนที่บรรจุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น แผงวงจนหลัก ฮาร์ดิสก์ หน่วยความจำ หน่วประ มวลผล เคสมีทั้งแบบแนวนอนและแนวตั้งภายในเคส( case) ประกอบด้วย







-        2 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) คือ พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลหลักของคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลและโปรแกรม ภายในจะมีข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ บรรจุอยู่ฮาร์ดดิสก์ตัวแรกจะถูกกำหนดเป็น "ไดร์ฟ C" เสมอ









-         3 แรม (RAM)แรม (RAM)  หน่วยความจำ หรือ แรม (RAM : Read Access Memory) เป็นพื้นที่ที่ใช้ในการประมวลผล ข้อมูลชั่วคราว เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่มีการประมวลผลจะหายไปทันที





             4 เมาส์ (Mouse) เมาส์  เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ชี้ส่วนต่าง ๆ บนจอภาพ และเรียกโปรแกรมโดยการใช้เมาส์คลิกที่สัญรูปหรือไอคอน (Icon) ที่เป็นตัวแทนของโปรแกรมที่ต้องการ
                                                              

              


4 .                 5   จอภาพ (Monitor)  จอภาพ หรือมอนิเตอร์ ทำหน้าที่แสดงอักษร ข้อความและรูปภาพที่สร้างจากการ์ดแสดงผล ขนาดของจอภาพ วัดจาก ความยาวเส้นทแยงมุมของจอภาพ ขนาดมาตราฐานของจอภาพขั้นต่ำในปัจจุบันคือ 17 นิ้ว สำหรับหน่วยที่ใช้วัด เรียกว่า ดอตพิตช์ (Dot Pitch) ยิ่งมีขนาดเล็กจะมีความคมชัดสูง สำหรับขนาดดอตพิตช์ มาตราฐานไม่ควรมากกว่า 0.28 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีจอภาพที่กำลัง เป็นที่สนใจมากคือ จอแบน (LCD) ซึ่งกินพื้นที่ในการติดตั้งน้อยมาก แต่ราคาปัจจุบันค่อนข้างถูกลงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพ CRT
                    
                         


          6   การ์ดจอ  ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลเป็นสัญญาณเท่านั้น แต่จากกระแสของการ์ดเร่งความเร็วสามมิติ ในช่วงครึ่งหลังของทศวรรษที่ 90 โดยบริษัท 3dfx และ nVidia ทำให้เทคโนโลยีด้านสามมิติพัฒนาไปมาก ปัจจุบันการ์ดแสดงผลสมัยใหม่ได้รวมความสามารถในการแสดงผลภาพสามมิติมาไว้เป็นมาตรฐาน และได้เรียกชื่อใหม่ว่า GPU (Graphic Processing Unit) โดยสามารถลดงานด้านการแสดงผลของของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ได้มาก

                      


    7 แป้นพิมพ์ (Keyboard)   แป้นพิมพ์ หรือ คีย์บอร์ด เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์





     8  เมนบอร์ดศุนย์กลางของการเชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีชิปเซตที่ำทำหน้าที่รับ/ส่งข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆ อีกขั้นหนึ่ง เมนบร์ด (Mainboard)นิยมใช้มาตรฐานการออกแบบ




       9  พาวเวอร์ซัพพลาย   หน้าที่ของ Power Supply ไม่ใช้แค่เป็นตัวจ่ายไฟอย่างเดียว จริงๆแล้วหน้าที่หลังของ Power Supply คือตัวแปลงไฟล์ฟ้าจากระบบไฟฟ้าบ้านที่มีแรงไฟฟ้าที่เยอะเกินความต้องการของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ เช่น ไฟฟ้าบ้านในไทยมีไฟฟ้าอยู่ที่ 220 โวลต์ แต่อุปกรณ์บางชนิดต้องการแค่ 3.3 โวลต์ 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามลำดับ หรือจะพูดง่ายๆคือ Power Supply เป็นตัวแปลงไฟฟ้าให้เหมาะสมกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นั้นเอง



 เป็นอุ   10 CD-DVD drive ทำหน้าที่อ่าน ข้อมูล จากแผ่นซีดีรอม และทำการแปลงสัญญาณข้อมูล แล้วส่งไปยังหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ในการอ่านเขียนข้อมูล
     
การทำ
       

                                

 11  cpu  ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเชิงคณิตศาสตร์และข้อมูลเชิงตรรกะเท่านั้น แต่ทำไมการคำนวณขนาดนี้ ต้องมีการพัฒนาซีพียูกันไม่หยุดหย่อน ย้อนกลับไปปี 1946 คอมพิวเตอร์ยุคแรกที่มีชื่อที่พอจะจำได้ก็คือ ENIVAC นั้นทำงานโดยใช้หลอดไดโอด ซึ่งสถานะการทำงานของหลอดพวกนี้ มีสองอย่าง คือ 1 กับ 0 จะมีค่าเป็น 1 เมื่อมีกระแสไหลผ่านและเป็น 0 เมื่อไม่มีกระแสไหลผ่าน นั่นจึงเป็นเหตุผลให้คอมพิวเตอร์ใช้เลขฐาน 2 ในการคำนวณ ครั้นต่อมาวิทยาการก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ จากหลอดไดโอดก็พัฒนาเป็นทรานซิสเตอร์ และจากทรานซิสเตอร์ก็พัฒนาเป็นวงจรขนาดเล็ก ซึ่งรู้จักกันในชื่อของ IC และในที่สุดก็พัฒนาเป็น Chip อย่างที่เรารู้จักกันมาจนปัจจุบันนี้ 

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

หลักการการทำงานของคอมพิวเตอร์

     หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยรับข้อมูล คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลรับข้อมูลหรือคำสั่ง จากผู้ใช้เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ เป็นต้น โดยจะแปลงข้อมูลหรือคำสั่งนั้นให้อยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำมาจัดเก็บที่หน่วยความจำหลัก และใช้ประมวลผลได้ อุปกรณ์หน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้

1.1 แป้นพิมพ์ (keyboard)
 เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ 

1.1 แป้นพิมพ์ (keyboard)

เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์ 








เมาส์

กล้องดิจิทัล

                         

                                      



หน่วยประมวลผลกลาง (c p u)



หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสำคัญมากที่สุด ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ
1. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
     หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้องกับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป
2. หน่วยควบคุม (Control Unit)
     หน่วยควบคุมทำหน้าที่คงบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย เมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคำสั่งใด ผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคำสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยข้อมูล และชุดคำสั่งดังกล่าวจะถูกนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลักก่อน จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคำสั่งจาก ชุดคำสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจำหลักออกมาทีละคำสั่งเพื่อทำการแปล ความหมายว่าคำสั่งดังกล่าวสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ส่วนใด ทำงานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คำสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ง สัญญาณคำสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทำหน้าที่ ในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทำตามคำสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคำสั่ง ที่เข้ามานั้นเป็นคำสั่งเกี่ยวกับการคำนวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ คำสั่งไปยังหน่วยคำนวณและตรรกะ ให้ทำงาน หน่วยคำนวณและตรรกะก็จะไปทำการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจำหลักเข้ามาประมวลผล ตามคำสั่งแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล หน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคำสั่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ที่กำหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว อีกต่อหนึ่ง





หน่วยความจำ

3. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
     คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูล และชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล


  • การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปลความหมายและกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล
  • กลไกการทำงานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทำงานได้ดีขึ้น โดยแบ่งการทำงานเป็นส่วน ๆ มีการทำงานแบบขนาน และทำงานเหลื่อมกันเพื่อให้ทำงานได้เร็วขึ้น

                            แรม     

            


                               รอม 


      

  หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
             นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
             หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
            หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง  ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก


                                       

                   


  • หน่วยแสดงผลหรือหน่วยส่งออก (Output Unit)
เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลที่เตรียมไว้ในหน่วยความจำหลัก เพื่อส่งข้อมูลหรือสื่อสารกับผู้รับโดยมีฮาร์ดแวร์ทำหน้าที่เป็นส่วนแสดงผลหรือส่งข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลจากซีพียูมายังผู้รับ ทั้งในรูปแบบภาพ เสียง และสิ่งพิมพ์ ฮาร์ดทีทำหน่าที่ในหน่วยนี้มีหลายประเภทด้วยกัน ตัวอย่างเช่น จอภาพหรือมอนิเตอร์ ลำโพง หูฟัง เครื่องพิมพ์ และเครื่องแอลซีดีโพรเจคเตอร์ แต่ละประเภทจะมีลักษณะและการนำเสนอข้อมูลที่แตกต่างกัน ดังนี้

เครื่องแอดซีดีโพรเจกเตอร์



                                        

                                                         หูฟัง
                                                   
ลำโพง





                                                                      เครื่องพิมพ์

                                                          


วันอาทิตย์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ประวัติส่วนตัวสมาขิกในกลุ่ม

                                                             
              ประวัติส่วนตัว
                                       

     ชื่อ นางสาว มะลิษา จันหุนี ชื่อเล่น ฝน

     เลขที่21 ชั้น ม.4/7

     วันเดือนปีเกิด 14 พฤษภาคม 2541 สถานที่เกิด โรงพยาบาลทุ่งส่ง

     อำเภอทุ่งส่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
     ที่อยู่ปัจจุบัน 46/2 หมู่2 ตำบลนางหลง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
     บิดาชื่อ นาย สงัด จันหุนี

     มารดาชื่อ นาง มัติกา เสนทอง

     อาหารที่ชอบ ก๋วยเตี๋ยว
 
     สีที่ชอบ สีส้ม

     คติเตือนใจ ทำวันนี้ ให้ดีที่สุด
   
     อนาคตอยากเป็น ครู


             
                         


  ชื่อ นางสาว สุฑามาศ สุวรรณ์คีรี ชื่อเล่น ใหม่

     เลขที่29 ชั้น ม.4/7

     วันเดือนปีเกิด 5 ธันวาคม 2541 สถานที่เกิด โรงพยาบาล พัทลุง
 
     ที่อยู่ปัจจุบัน 15 ตำบลชะอวด  อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
     บิดาชื่อ นาย นิโจรน์ สุวรรณ์คีรี

     มารดาชื่อ นาง ชื่น สุรรณ์คีรี

     อาหารที่ชอบ ข้าวผัดกระเพาไข่ดาว
 
     สีที่ชอบ  สีม่วง

     คติเตือนใจ ฝันให้ไกล ไปให้ถึง
   
     อนาคตอยากเป็น ครู